ข้ออ้างของการตามใจปาก

เมื่อเราอยากกิน เรามักจะหาข้ออ้างมาสนับสนุนการกินของเราได้เสมอ  ‘รู้อยู่แก่ใจว่าไม่ดี แต่มันอดไม่ได้’ ———————————————————————————————————— ทุกคนอยากหุ่นดี ใส่เสื้อผ้าได้ทุกแบบด้วยความมั่นใจ มีสุขภาพแข็งแรง คงไม่มีใครอยากป่วย แต่ความอยากเหล่านี้มันคงเป็นที่ความฝันที่เลือนลาง เมื่อเรายังหาเหตุผลของการกินตามใจปากได้ทุกครั้ง การหาเหตุผลต่าง ๆ นานามาสนับสนุนการกินที่เกินพอดี แบบนี้ในทางเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมเรียกว่า ความลำเอียงเพื่อยืนยัน หรือ Confirmation bias  ขอยกตัวอย่างง่าย

ปลาดอร์ลี่ ไม่ได้ดีเหมือนอย่างชื่อที่สวยหรู

และแล้วส่ิงที่กลัวก็เกิดขึ้น ผลงานวิจัยล่าสุดของ ศ.ดร.จงรักษ์ ผลประเสริฐ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ชี้ชัดว่า ปลาดอร์ลี่ ของโปรดของคนไทยเจอสารปนเปื้อนสูงเกินค่ามาตรฐาน ที่สำคัญไม่ว่าจะต้ม ทอด หรือทำให้สุกอย่างไร ก็ไม่สามารถจัดการสารเหล่านี้ต่อไปได้ ปลาดอร์ลี่ รสชาตินุ่ม ไม่มีกลิ่นคาว ปรุงอาหารได้หลากหลาย และเมื่อวางอยู่ในจาน เนื้อขาวสวย ตัดกับผักสีสันสดใส กระตุ้นต่อน้ำลายเราได้ไม่น้อย

น้ำตาลทรายแดง ดีกว่า น้ำตาลทรายขาว จริงหรือ?

น้ำตาลทรายแดงไม่ฟอกสีต้องดีกว่าสิ แต่หารู้ไม่ว่า เราเข้าใจผิด !!! ของแพงต้องดีกว่าของถูก อาจจะใช้ไม่ได้ สองประเด็นด้านบน เพื่อนๆ จะได้คำตอบจากบทความนี้แน่นอน ก่อนอื่นเรามาทำความรู้จักน้ำตาลกันก่อน เราขอจัดน้ำตาลออกเป็น 4 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1. น้ำตาลดิบ หรือ Raw sugar  คือน้ำตาลทรายที่ได้จากกระบวนการผลิตขั้นต้น

หมูกะทะ จิ้มจุ่ม ชาบู สุกี้ มีอะไรดี ทำไมเราถึงติดใจ

บางคนหลงรักถึงขนาดไปกินหมูกะทะ จิ้มจุ่ม ชาบู หรือสุกี้ ทุกสัปดาห์ บางคนไปกินมากกว่าสัปดาห์ละหนึ่งครั้ง แม้ว่าจะรู้ว่าการกินอาหารจำพวกปิ้งย่างมากไม่ดี แต่ก็หักห้ามใจไม่ได้ บางครั้งเรายอมจ่ายให้กับอาหารที่ไม่ได้อร่อยเลิศเลอ คุณภาพไม่ได้ดีมาก แต่เราให้ค่าความอร่อยมากกว่าความเป็นจริง เพราะอาหารที่เราปรุงเองมีค่าและอร่อยมากกว่าสิ่งที่คนอื่นปรุง หมูกะทะ จิ้มจุ่ม ชาบู สุกี้ เมนูโปรดที่ต้องกินกันหลายคน หากถามว่า หมูกะทะ จิ้มจุ่ม ชาบู