ฤาจะเข้ายุคข้าวยากหมากแพง

จากข้อมูลราคาปุ๋ยฟอสเฟตและยูเรียที่เพิ่มขึ้นมาต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2563 คาดว่าจะอยู่ในระดับสูงในช่วงที่เหลือของปี 2564 และยิงยาวไปถึงปีหน้า 2565 เป็นหนึ่งปัจจัยสำคัญที่จะทำให้ต้นทุนการผลิตพืชอาหารทั่วโลกเพิ่มสูงขึ้น นอกจากนี้ยังมีสภาพอากาศที่แปรปรวน สถานการณ์น้ำท่วมในหลายประเทศ ล้วนเป็นสัญญาณบ่งชี้ว่า แนวโน้มราคาอาหารจะเพิ่มสูงขึ้น อัตราเงินเฟ้อของอาหารทั่วโลกจะกลายเป็นหนามทิ่มแทงรัฐบาลทุกประเทศ ภาพที่ 1 ราคาปุ๋ยฟอสเฟต ยูเรีย และโพแทส ช่วงปี 2018 –

ไม้ด่าง : The Power of Surprise

ณ เวลานี้คงไม่มีใครปฏิเสธได้ว่า วงการไม้ประดับ (ไม้ใบ ไม้ด่าง) ได้รับอานิสงส์จากการระบาดของ COVID-19 จนเรียกได้ว่าเป็นช่วงขาขึ้น ผลของการหยุดอยู่บ้านทำให้คนหันมาปลูกต้นไม้เป็นงานอดิเรกให้ตลาดไม้ด่างเติบโตในระดับหนึ่ง และเมื่อมี Influencer ตัวฉกาจอย่างดารานักแสดชั้นนำ เข้ามาสนใจ โพสต์รูปคู่กับต้นไม้ผ่าน Instragram Facebook YouTube จึงดันให้ตลาดไม้ด่างกลายเป็นที่สนใจในวงกว้าง ต้นไม้บางต้นมีมูลค่าเพิ่มขึ้นเพียงชั่วข้ามคืนเพราะกระแสและความต้องการที่มากจากคนนอกวางการที่พร้อมจะควักตังในกระเป๋าในราคาที่หลายคนตกใจ บางคนเข้ามาซื้อหาด้วยคำว่า

จะเกิดอะไรขึ้น…ถ้าอนุญาตให้นำเข้าเนื้อหมูจากสหรัฐอเมริกา

เรื่องโดย ดร.สุวรรณา สายรวมญาติ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พาดหัวข่าวในช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์ที่ผ่านมา …สหรัฐฯ ประกาศตัดสิทธิ์ GSP (Generalized System of Preferences) ของไทยเพิ่มเติมคิดเป็นมูลค่า 25,000 ล้านบาท GSP คือ สิทธิพิเศษทางภาษีที่เราเคยได้ลดหย่อน

สหรัฐอเมริกาตัด GSP : ไทยเจ็บแค่ไหน?

โดย อ.ดร.สุวรรณา สายรวมญาติ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ช่วงก่อนการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา ประธานาธิบดีทรัมป์ได้อนุมัติให้มีการตัดสิทธิพิเศษทางภาษีสินค้านำเข้าจากไทยเพิ่มเติมจากเดิมเมื่อเดือนมิถุนายน 2563 อีกจำนวน 231 รายการ ในวันที่ 30 ธันวาคม 2563 ด้วยเหตุด้านการเปิดตลาดสินค้าและบริการอย่างสมเหตุสมผลในผลิตภัณฑ์เนื้อหมูของสหรัฐอเมริกาจากการร้องเรียนของ The National Pork

หมูดีมีมาตรฐานกับราคาที่ต้องจ่าย

โดย ดร.สุวรรณา สายรวมญาติ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ท่ามกลางความวิตกกังวลที่มีต่อการระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 อย่างรวดเร็วในระลอกที่ 3 ทำให้ทุกคนต้องเพิ่มมาตรการป้องกันตัวเองแบบตั้งการ์ดให้มั่น ไม่ต่างกับผู้เลี้ยงสุกรที่ต้องตั้งการ์ดระบบความปลอดภัยทางชีวภาพ (Bio-Security) เพื่อป้องกันการระบาดของโรคอหิวาต์แอฟริกาในสุกร หรือ ASF ที่ตอนนี้สร้างความเสียหายให้หลายฟาร์มอย่างฉับพลัน แม้ว่ากรมปศุสัตว์พยายามสร้างความมั่นใจว่าปัจจุบันประเทศไทยปลอด ASF แต่ผู้ประกอบการฟาร์มหมูหลายรายไม่เชื่อเช่นนั้น  

พฤติกรรมการบริโภคข้าวและปัจจัยกำหนดราคาข้าวในเขตกรุงเทพมหานคร กรณีศึกษาข้าวไรซ์เบอร์รี่

สุวรรณา สายรวมญาติ ที่มาและความสำคัญของปัญหา          วิถีชีวิตความเป็นเมืองและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจส่งผลให้พฤติกรรมการบริโภคของคนไทยเปลี่ยนแปลงไปตามวิถีการดำรงชีวิต ส่งผลให้แนวโน้มความต้องการอาหารปรุงสำเร็จและการรับประทานอาหารนอกบ้านเพิ่มมากขึ้นในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ส่งผลให้มีผลิตภัณฑ์รูปแบบข้าวหุงสุกวางจำหน่ายในท้องตลาดเพื่อช่วยอำนวยความสะดวกให้กับผู้บริโภคในเขตเมืองทั้งยังช่วยรักษาวัฒนธรรมการบริโภคข้าวคนไทยให้ดำรงอยู่ อย่างไรก็ตาม แนวโน้มการเติมโตของความต้องการอาหารสำเร็จรูปยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องตามความก้าวหน้าของเทคโนโลยี นำมาซึ่งภาวการณ์แข่งขันที่รุนแรง ทำให้ผู้ประกอบการข้าวสารบรรจุถุงต้องให้ความสำคัญ ปรับตัวและพยายามปรับกลยุทธ์สร้างความแตกต่างให้กับสินค้ามากกกว่ากลยุทธ์ทางการตลาด เพื่อสร้างความโดดเด่นให้กับสินค้าในสายตาผู้บริโภค เช่น บรรจุภัณฑ์มีหลายรูปแบบ เครื่องหมายรับรองมาตรฐานต่าง ๆ ชนิดของข้าว ข้อมูลโภชนาการ เป็นต้น

เรื่องหมูแพงกับกำแพงราคาที่ปวดใจ

เรื่องโดย สุวรรณา สายรวมญาติ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปัญหาหมูราคาหมูมีชีวิตหน้าฟาร์มปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นจนเรียกว่าแพงเมื่อเทียบกับกระเป๋าสตางค์ของผู้บริโภค จนกรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ ต้องกำหนดราคาหมูชีวิตหน้าฟาร์มไม่เกิน 80 บาท/กก. ราคาขายส่งเนื้อแดงห้างค้าปลีก 128 บาท/กก. และราคาขายปลีกเนื้อแดงไม่เกิน 160 บาท/กก. ราคานี้เท่ากับราคาเพดานช่วงเดือนสิงหาคมปี 2563