ทางออกหมูแพง “ผู้ผลิตอยู่รอด ผู้บริโภคอยู่ได้

ทางออกหมูแพงที่ “ผู้ผลิตอยู่รอด ผู้บริโภคอยู่ได้” โดย สุวรรณา สายรวมญาติ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปัญหาโรคระบาดไวรัส ASF บานปลายจนทำให้ปริมาณหมูไทยลดลงจาก 20 ล้านตัว เหลือ 12.5 ล้านตัว หรืออาจจะมากกว่านั้น เพราะมีการคาดการณ์ว่าความเสียหาย ณ

Specialty durian ทางออกของทุเรียนไทย

เรื่องโดย สุวรรณา สายรวมญาติ ทุเรียนเป็นหนึ่งในสินค้าที่เป็นกลุ่มไม่รักก็เกลียดเลย (Like it or hate it) แต่ด้วยความก้าวหน้าของเทคโนโลยี และอิทธิพลของแพลตฟอร์มออนไลน์ทั้ง E-commerce และสื่อสังคมออนไลน์ต่าง ๆ ทำให้กลุ่มเกลียดเลยมีแนวโน้มสัดส่วนลดลง ความคลั่งไคล้ของผู้ชื่นชอบทุเรียนได้ส่งผ่านไปยังสื่อสังคมออนไลน์กระตุ้นการบริโภคทุเรียนได้อย่างมหาศาล ปัจจุบันตลาดผู้บริโภคทุเรียนที่ใหญ่ที่สุดคงหนีไม่พ้นพี่จีน แม้ในอดีตทุเรียนจะเป็นผลไม้ที่มีกลิ่นไม่พึงประสงค์ แต่ปัจจุบันความรู้สึกของผู้บริโภคชาวจีนได้เปลี่ยนไปกลายเป็นผลไม้ที่ได้รับความนิยม การบริโภคทุเรียนกลายเป็นภาพลักษณ์ทางสังคม นิยมซื้อเป็นของฝากให้ญาติสนิทมิตรสหาย เอาแค่ช่วงสั้น ๆ เช่น

เราจะทนพิษบาดแผลไหวมั้ย?

ตั้งแต่โควิด-19 มาเยือน ราคาอาหารทั่วโลกพุ่งสูงขึ้นเนื่องจากโซ่อุปทานได้รับผลกระทบจากกำลังแรงงานติดเชื้อโควิด-19 รวมไปถึงมาตรการล็อคดาวน์ของประเทต่าง ๆ ซึ่ง OECD และ UN คาดการณ์ว่า ราคาอาหารจะเริ่มลดลงในปีหน้า นั่นหมายถึง เรายังคงต้องเผชิญกับภาวะราคาอาหารสูงกันต่ออีกครึ่งปี  โควิด-16 ได้โจมตีเงินในกระเป๋าของทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภคซ้ำๆ จนอ่วม หลายคนยกธกขาวไปเรียบร้อย  ราคาอาหารทั่วโลก (Global food

อาหารคลีนกับข้อมูลคลีน ๆ

ตื่นมาตอนเช้าวันอาทิตย์ 27 มิถุนายน 2564 กับข่าวสั่งห้ามนั่งทานในร้านอาหาร  อนิจจาได้เวลาเข้าครัว…ทำอาหารคลีนๆกินเองอีกแล้วสิเรา หลายคนคงเบื่อกับโควิดสารพัดปัญหาที่ไม่รู้ว่าจุดสูงสุดของผู้ติดเชื้อนั้นจะอยู่ที่ยอดใด และเราจะไม่รู้จนกว่าจุดสูงสุดนั้นได้ผ่านเราไปแล้ว แต่สิ่งที่เราทำได้คือ การดูแลตัวเอง  เราได้เคยเล่าไปแล้วว่าการทำอาหารทานเองนั้นคลีนกว่าการไปซื้ออาหารตามร้านต่าง ๆ เพราะคนปรุงจะต้องปรุงให้ถึงใจ ถึงรส มิเช่นนั้นก็ไม่สามารถทำให้เราติดใจกลับไปกินได้ในครั้งต่อ ๆ ไป  การที่เราลงทุนทำอาหารเอง ประมาณว่าทำเอง ทานเอง

กินเนื้อวัวมั้ย

กินเนื้อวัวมั้ย…หนึ่งในคำถามที่มักเจอ:และคำตอบที่มักได้สำหรับคนที่ไม่กินเนื้อวัวที่สำรวจมา จัดกลุ่มได้ 5 สาเหตุ :1. แม่ไม่กิน (เนื่องจากส่วนใหญ่แม่เป็นคนทำกับข้าว คนทำไม่กินเนื้อวัว สมาชิกในครอบครัวโดยเฉพาะลูก ๆ จึงไม่กินเนื้อวัวตามแม่)2. ความเชื่อ เช่น นับถือเจ้าแม่กวนอิม หรือเกิดปีวัว (ปล. เจ้าตำรับที่นับถือเจ้าแม่กวนอิม นับถือแต่กินเนื้อวัว และนิยมสุด ๆ

มันเป็นสามชั้น ไม่ใช่เบคอน

A: ใครสั่งหมูสามชั้น B: ไม่ได้สั่ง สั่งแต่เบคอน A: เบคอนตรงไหน นี่มันสามชั้นชัดๆ  B: ก็ในเมนูเขียนว่า ‘เบคอน’  A: …  หมูสามชั้น คือ ส่วนที่นิยมแปรรูปเป็น ‘เบคอน’ แต่…เบคอนไม่ใช่หมูสามชั้น เราสามารถนำชิ้นส่วนเนื้อส่วนอื่นของหมูมาทำเบคอนได้เช่นกัน ถามว่าเบคอนคืออะไร?

ราคาหมูหน้าฟาร์มลงแล้ว…ทำไมเรายังต้องซื้อหมูแพง?

ราคาหมูหน้าฟาร์มลงแล้ว แต่ทำไมเรายังกินหมูแพง หากเข้าไปดูประกาศของสมาคมผู้เลี้ยงสุกรจะพบว่า ราคาหมูขุนหน้าฟาร์ม ณ วันที่ 9 พฤศจิกายน 2563 ซื้อขาย 72-77 บาท/กิโลกรัม [1] ราคาเนื้อแดงหน้าเขียงก็ควรจะอยู่ที่ 144-154 บาท เหตุไฉนราคาที่เราซื้อยังเกิน 160 บาท??? สิ่งที่คนเลี้ยงหมูต้องเผชิญกันจนชินชา   หมูแพงร้องดัง หมูถูกไม่มีใครสนใจ

จะเกิดอะไรขึ้น…ถ้าอนุญาตให้นำเข้าเนื้อหมูจากสหรัฐอเมริกา

พาดหัวข่าวในช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์ที่ผ่านมา …สหรัฐฯ ประกาศตัดสิทธิ์ GSP (Generalized System of Preferences) ของไทยเพิ่มเติมคิดเป็นมูลค่า 25,000 ล้านบาท GSP คือ สิทธิพิเศษทางภาษีที่เราเคยได้ลดหย่อน ในการส่งออกสินค้าไทยไปยังสหรัฐฯ ต่อไปเราจะไม่ได้สิทธิ์นั้น แต่เรายังสามารถส่งออกสินค้าได้เหมือนเดิม แค่ต้องเสียภาษีในอัตราปกติ

ก้าวของฟาสต์ฟู้ดยักษ์ใหญ่

ไก่ทอด เบอร์เกอร์ พิซซ่า เชื่อว่า หนึ่งในสามเมนูนี้ น่าจะเป็นรายการโปรดสำหรับใครหลายคน หรือไม่ ก็อาจจะโปรดทั้ง 3 เมนู

เพียงแค่นึกถึง…น้ำลายก็สอแล้ว

ยิ่งทำงานเหนื่อยล้ามากเท่าไร อย่าได้เห็นเดียวนะ เป็นกระโดนใส่

Plant-based meat : เนื้อสัตว์จากพืชที่ก้าวขึ้นมาเทียบเนื้อสัตว์ที่เราคุ้นเคย

งานวิจัยหลายชิ้นชี้ว่าการกิน ‘เนื้อสัตว์’ เป็นส่วนหนึ่งของสาเหตุโลกร้อน อันเนื่องมาจากกระบวนการเลี้ยงที่ใช้ทรัพยากรดินและน้ำ รวมถึงระบบขนส่งตั้งแต่ต้นน้ำจนปลายน้ำ ก่อให้เกิดการพัฒนาเนื้อสัตว์จากพืช (Plant-based meat)

1 3 4 5 6 7 12