ผ่าทางตันต้นทุนอาหารสัตว์

เริ่มต้นปี 2567 สถานการณ์ด้านราคาหมูขุนมีชีวิตก็กระเตื้องขึ้นมากบ้างที่ 68 – 74 บาท/กก. โดยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในช่วงตรุษจีนที่ราคา 80 บาท/กก. ให้พอให้ผู้เลี้ยงหมูที่เหลืออยู่น้อยนิดให้หายใจคล่องขึ้นมาบ้าง หลังจากขาดทุนมาตลอดทั้งปี 2566 ระหว่างทางก็มีผู้เลี้ยงรายย่อยจำนวนมากตัดสินใจเลือกเลี้ยงหมูไปเป็นจำนวนมาก แม้ว่าสถานการณ์ด้านราคาจะดีขึ้น แต่เมื่อกลับไปพิจารณาต้นทุนนับว่าน่าหนักใจสำหรับชาวหมู เนื่องจากต้นทุนธัญพืชอาหารสัตว์มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นอย่างมาก เนื่องจากปัจจัยรุมเร้าที่หนักหน่วงทั้งสถานการณ์ภัยแล้งจาก El Niño

นโยบายรัฐ: ตัวชี้วัดความอยู่รอดของอุตสาหกรรมหมูไทย

เรื่องโดย ผศ.ดร.สุวรรณา สายรวมญาติ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร  คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เรื่องโดย ผศ.ดร.สุวรรณา สายรวมญาติ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร  คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตั้งแต่ต้นปี 2566 เป็นต้นมา ราคาขายหมูมีชีวิตหน้าฟาร์มปรับตัวลดลงมาอย่างต่อเนื่อง หากแต่ต้นทุนการผลิตหมูขุนของไทยยังคงทรงตัวในระดับสูงตั้งแต่ต้นปี มาปรับตัวลดลงในช่วงเดือนพฤษภาคม (ภาพที่  1)

ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อสนับสนุนการผลิตและการค้าโคเนื้อคุณภาพของไทย

เรื่องโดย สุวรรณา สายรวมญาติ และศุภธัช ศรีวิพัฒน์ อุปสงค์การบริโภคเนื้อโคคุณภาพของผู้บริโภคในประเทศที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่กำลังการผลิตโคขุนคุณภาพภายในประเทศไม่สามารถตอบสนองได้ทัน ทำให้ประเทศไทยต้องนำเข้าโคมีชีวิต เนื้อโคและผลิตภัณฑ์หลายพันล้านบาทต่อปี นโยบายของภาครัฐที่ผ่านมาได้ส่งเสริมให้การเลี้ยงโคขุนเป็นอาชีพหลักของเกษตรกร ซึ่งได้สนับสนุนการรวมกลุ่มการเลี้ยงและถ่ายเทคโนโลยีการเลี้ยงโคเนื้อ ทำให้ปริมาณการผลิตโคเนื้อในช่วงปี พ.ศ. 2561-2566 เพิ่มสูงขึ้น (ตารางที่ 1) (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2566) ตารางที่