อนาคตของหมูไทย 2568 คนไทยต้องกินหมูแพง แต่รายเล็กอาจไปไม่รอด

เรื่องโดย ผศ.ดร.สุวรรณา สายรวมญาติ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในปี 2568 สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรประมาณการอุปสงค์เนื้อสุกรไว้ที่ 1.585 ล้านตัน ประมาณการอุปทานไว้ที่ 1.60 ล้านตัน หรือประมาณ 21.37 ล้านตัว ลดลงจากปี 2567 ประมาณ 4

ผ่าทางตันต้นทุนอาหารสัตว์

เริ่มต้นปี 2567 สถานการณ์ด้านราคาหมูขุนมีชีวิตก็กระเตื้องขึ้นมากบ้างที่ 68 – 74 บาท/กก. โดยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในช่วงตรุษจีนที่ราคา 80 บาท/กก. ให้พอให้ผู้เลี้ยงหมูที่เหลืออยู่น้อยนิดให้หายใจคล่องขึ้นมาบ้าง หลังจากขาดทุนมาตลอดทั้งปี 2566 ระหว่างทางก็มีผู้เลี้ยงรายย่อยจำนวนมากตัดสินใจเลือกเลี้ยงหมูไปเป็นจำนวนมาก แม้ว่าสถานการณ์ด้านราคาจะดีขึ้น แต่เมื่อกลับไปพิจารณาต้นทุนนับว่าน่าหนักใจสำหรับชาวหมู เนื่องจากต้นทุนธัญพืชอาหารสัตว์มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นอย่างมาก เนื่องจากปัจจัยรุมเร้าที่หนักหน่วงทั้งสถานการณ์ภัยแล้งจาก El Niño

นโยบายรัฐ: ตัวชี้วัดความอยู่รอดของอุตสาหกรรมหมูไทย

เรื่องโดย ผศ.ดร.สุวรรณา สายรวมญาติ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร  คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เรื่องโดย ผศ.ดร.สุวรรณา สายรวมญาติ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร  คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตั้งแต่ต้นปี 2566 เป็นต้นมา ราคาขายหมูมีชีวิตหน้าฟาร์มปรับตัวลดลงมาอย่างต่อเนื่อง หากแต่ต้นทุนการผลิตหมูขุนของไทยยังคงทรงตัวในระดับสูงตั้งแต่ต้นปี มาปรับตัวลดลงในช่วงเดือนพฤษภาคม (ภาพที่  1)

ฤาว่า…รัฐยินดีที่เห็นคนเลี้ยงหมูขาดทุน?

เรื่องโดย ผศ.ดร.สุวรรณา สายรวมญาติภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หลังจากราคาหมูมีชีวิตหน้าฟาร์มของไทยที่เคยสูงสุดในภูมิภาคเมื่อปี 2565 ผลผลิตขายเมื่อช่วงปลายปี ณ ราคา 100 บาทต่อกิโลกรัม ยังพอมีกำไรให้คนเลี้ยงหมูไทยได้กลับมาเลี้ยงรอบใหม่ แต่ในช่วงเวลานี้ ราคาหมูไทยกลับต่ำสุดเมื่อเทียบกับรอบบ้าน (ณ วันที่ 17 กรกฎาคม 2566

ฝากรัฐบาลชุดใหม่…โปรดช่วยต่อลมหายใจชาวหมูรายย่อย

เรื่องโดย ผศ.ดร.สุวรรณา สายรวมญาติ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ตลอดช่วงหน้าร้อนนี้ความหวังว่าราคาหมูหน้าฟาร์มจะดีขึ้นบ้างคงหมดหวัง สถานการณ์ตอนนี้ของชาวหมูเรียกได้ว่า “น้ำตาตก” เนื่องจากราคาขายหมูหน้าฟาร์มอ้างอิงเขตภาคตะวันตกอยู่ที่ 70 บาท/กก. ไม่ได้สะท้อนถึงต้นทุนการผลิตที่คงตัวในระดับสูงกว่า 90 บาท/กิโลกรัม แต่ก็ยังดีที่แนวโน้มต้นทุนที่เริ่มลดลง (ภาพที่ 1) ผลของการปล่อยให้มีการลักลอบนำเข้าหมูเถื่อน ทางสมาคมผู้เลี้ยงสุกรฯ

หมูหลุม…หนึ่งทางรอดของเกษตรกรรายย่อย

โดย ผศ.ดร.สุวรรณา สายรวมญาติ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2566 ที่ผ่านมา ได้มีกฎกระทรวงออกมาบังคับการทำมาตรฐานฟาร์มหมู GAP (การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มสุกร ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2551)โดยกฎกระทรวงนี้มีผลบังคับใช้กับฟาร์มหมูขนาดกลางและขนาดใหญ่ แม้ว่าผู้เลี้ยงจะทราบดีถึงการบังคับทำมาตรฐานฟาร์ม GAP ก่อนหน้านี้กรมปศุสัตว์ก็เดินหน้ามาตรฐานฟาร์มมาพักใหญ่

อากาศแปรปรวนเด้ง 4 เหตุต้นทุนหมูแพง ขอผู้บริโภคโปรดเห็นใจ

เรื่องโดย ดร.สุวรรณา สายรวมญาติ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมื่อวันที่ 24 เมษายน 2565 คณะอนุกรรมการต้นทุน Pig Board รายงานต้นทุนการผลิตสุกรขุน 98.81 บาท/กก. นับว่าเป็นต้นทุนการผลิตสุกรขุนที่สูงเป็นประวัติการณ์เรียกได้ว่าฟาร์มต้องคุมขมับ เพราะราคาสุกรขุนหน้าฟาร์มมีชีวิตตามประกาศของสมาคมฯ คือ 96-98